ผังข้อมูล (mind map) และข้อมูลสถิติแต่ละรายการ ด้านเศรษฐกิจ เรื่อง "เกษตรอินทรีย์(ข้าว)"
ผังข้อมูล (Mind Map) ชุดข้อมูลตามประเด็นยุทธศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจ
ดาวน์โหลดรายการข้อมูลสถิติ ชุดข้อมูลตามประเด็นยุทธศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจ
VC1 : การวิจัยพัฒนา (R&D) - การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานและการพัฒนาเกษตรกร
- ค่าวิเคราะห์ดินในแต่ละพื้นที่ (ค่า Ph)
- จำนวนพื้นที่ชลประทาน
- จำนวนพื้นที่แหล่งน้ำสาธารณะ
- จำนวนเทคโนโลยีที่มีการพัฒนา ดัดแปลงและเลือกใช้อย่างเหมาะสมกับการผลิตข้าวหอมมะลิของจังหวัด
- จำนวนสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัยของจังหวัดในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา
- จำนวนเกษตรกรและสมาชิกสหกรณ์ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนาศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลิทั้งกระบวนการจาก
ศูนย์การเรียนรู้ฯของจังหวัดในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา - จำนวนศูนย์การเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวหอมมะลิ
- จำนวนศูนย์ประสานงานกลุ่มเกษตรกรและภาคธุรกิจ
- จำนวนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวทั้งหมด
- จำนวนสถาบันการเงินที่เป็นแหล่งทุนให้เกษตรกรกู้ยืมได้
- จำนวนกองทุนเงินกู้ต่างๆ
VC2 : การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน
- จำนวนเกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะลิในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา
- จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา
- จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิในปีปัจจุบัน
- จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมดของจังหวัดในปีปัจจุบัน
- จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการสนับสนุนและพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบการผลิตข้าวหอมมะลิให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน GAP หรือ
ที่เทียบเท่า GAP ของจังหวัด - จำนวนผลผลิตข้าวหอมมะลิเฉลี่ยต่อไร่ ในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา
- จำนวนค่าใช้จ่ายในการเพาะปลูกข้าวหอมมะลิเฉลี่ยต่อไร่ในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา
- มูลค่าการค้าข้าวหอมมะลิ
- จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิที่เข้าร่วมโครงการปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัยของจังหวัดที่ได้รับการรับรองคุณภาพข้าวตามมาตรฐาน
GAP หรือเทียบเท่า GAP ของจังหวัด - จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิที่เข้าร่วมโครงการปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัยของจังหวัด ที่ผ่านการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ระบบ
มาตรฐาน GAP หรือเทียบเท่า GAP ของจังหวัด - จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมจนมีแผนการผลิต และแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม(Crop Zoning and planning)
- จำนวนชนิดพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตต่อไร่สูงและเหมาะสมกับการเพาะปลูกข้าวนาปี
VC3 : การแปรรูป การเพิ่มและสร้างคุณค่า
- จำนวนโรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์ ที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความพร้อมเข้าสู่มาตรฐาน GMP
- จำนวนเกษตรกรที่ใช้ทคโนโลยี(กระบวนการ)เพื่อรักษาคุณภาพข้าวหอมมะลิหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มี
คุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน การใช้เครื่องอบความชื้นข้าว เป็นต้น) - ปริมาณข้าวเปลือกข้าวหอมมะลิที่มีการเก็บรักษาให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน
- จำนวนเกษตรกรและโรงสีที่ได้รับการอบรมและพัฒนาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตข้าวหอมมะลิ
- ปริมาณข้าวหอมมะลิที่ใช้บรรจุภัณฑ์ที่มีการใช้เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวปลอดภัย
- จำนวนโรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์ ที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและการเป็น Zero Waste Industry
- จำนวนโรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์ ที่มีศักยภาพมีความพร้อมเป็น Zero Waste Industry
VC4 : การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหารสินค้า (Logistics)
VC5 : การพัฒนา ระบบการตลาด
- ราคารับซื้อข้าวเปลือกข้าวหอมมะลิ
- ราคารับซื้อข้าวเปลือกทั่วไป
- จำนวนครั้งของการโฆษณาประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายข้าวหอมมะลิที่เหมาะสมกับแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยว
- จำนวนการสั่งซื้อข้าวหอมมะลิจากการจัดงานแสดงสินค้าและ Road Show
- มูลค่าการสั่งซื้อข้าวหอมมะลิจากการจัดงานแสดงสินค้าและ Road Show
- จำนวนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการตลาดและการรวมกลุ่มเกษตรกรปลูกข้าวหอมมะลิในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา
- จำนวนรูปแบบบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์ที่จังหวัดให้การรับรองและมีการขอแจ้งจดทรัพย์สินทางปัญญา